วันเสาร์ที่ 5 สิงหาคม พ.ศ. 2566
กรมอุทยานแห่งชาติฯ จัดงานวันเสือโคร่งโลกประจำปี 2566 “Move Forward to Sustainable Tigers Conservation : ก้าวสู่การอนุรักษ์เสือโคร่งอย่างยั่งยืน” เดินหน้าแผนเสือโคร่ง ฉบับที่ 2 ก้าวสู่การเป็นผู้นำการอนุรักษ์เสือโคร่งในระดับภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ภายในปี2577
วันที่ 5 สิงหาคม 2566 กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช ร่วมกับจังหวัดนครสวรรค์ และหน่วยงานภาคีเครือข่ายด้านการอนุรักษ์สัตว์ป่าด้านการอนุรักษ์สัตว์ป่า 11 องค์กร ประกอบด้วย คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ องค์การสวนสัตว์แห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ องค์การระหว่างประเทศเพื่อการอนุรักษ์ธรรมชาติ (IUCN) สมาคมอนุรักษ์สัตว์ป่า (WCS) ประเทศไทย องค์การกองทุนสัตว์ป่าโลกสากล สำนักงานประเทศไทย (WWF-Thailand) สมาคมสัตววิทยาแห่งลอนดอน (ZSL) ประเทศไทย องค์การแพนเทอรา (Panthera) ประเทศไทย มูลนิธิสืบนาคะเสถียร มูลนิธิฟรีแลนด์ (Freeland) องค์กรทราฟฟิค ประเทศไทย (TRAFFIC Thailand) และ บริษัท ทรู คอร์ปอเรชั่น จำกัด (มหาชน) จัดงานวันเสือโคร่งโลก ประจำปี 2566 ภายใต้แนวคิดหลัก “Move Forward to Sustainable Tigers Conservation : ก้าวสู่การอนุรักษ์เสือโคร่งอย่างยั่งยืน” ณ ศูนย์ประชุมมหาวิทยาลัยเจ้าพระยา จังหวัดนครสวรรค์ โดยมีนายจตุพร บุรุษพัฒน์ ปลัดกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เป็นประธานเปิดงาน เมื่อเวลา 10.00 น. วันที่ 7 สิงหาคม 2566 ที่ ศูนย์ศึกษาการพัฒนาพิกุลทองอันเนื่องมาจากมาจากพระราชดำริ ตำบลกะลุวอเหนือ อำเภอเมือง จังหวัดนราธิวาส นายพลากร สุวรรณรัฐ องคมนตรี เป็นประธานในพิธีเปิดงาน ชมศูนย์ศึกษา พัฒนาความรู้ ดูนิทรรศการ ครั้งที่ 24 ประจำปี 2566 โดยมีนายไพโรจน์ จริตงาม รองผู้ว่าราชการจังหวัดนราธิวาส นายศุภรัชต์ อินทราวุธ ที่ปรึกษาด้านการพัฒนา (สำนักงาน กปร.) นางสายหยุด เพ็ชรสุข ผู้อำนวยการศูนย์ศึกษาการพัฒนาพิกุลทองฯ หัวหน้าส่วนราชการ ข้าราชการ เจ้าหน้าที่ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ประชาชน เข้าร่วมในกิจกรรมเป็นจำนวนมากด้วยสำนักงานคณะกรรมการพิเศษเพื่อประสานงานโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ (สำนักงาน กปร.) ร่วมกับศูนย์ศึกษาการพัฒนาพิกุลทองอันเนื่องมาจากพระราชดำริ หน่วยงานต่างๆ ที่มาร่วมทำงานในศูนย์ศึกษาการพัฒนาพิกุลทองฯ แบบบูรณาการ และจังหวัดนราธิวาส ได้จัดงาน “ชมศูนย์ศึกษา พัฒนาความรู้ ดูนิทรรศการ” เป็นประจำทุกปี และในปี 2566 นี้ นับเป็นปีที่ 24 ของการจัดงาน และเป็นปีที่ศูนย์ศึกษาการพัฒนาพิกุลทองฯ ดำเนินงานมากกว่า 4 ทศวรรษ โดยมีการพัฒนามาอย่างต่อเนื่อง �ทั้งในด้านการดำเนินงานสนองพระราชดำริ ตลอดจนการศึกษา ค้นคว้า วิจัย และการขยายผลการพัฒนาสู่พื้นที่ของเกษตรกร ซึ่งในปีนี้ได้กำหนดจัดขึ้นในระหว่างวันที่ 7 - 11 สิงหาคม 2566 รวม 5 วัน เพื่อเป็นการสำนึกในพระมหากรุณาธิคุณของพระบาทสมเด็จพระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว ที่ทรงมีพระราชปณิธานในการ “สืบสาน รักษา ต่อยอด” โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ และแนวพระราชดำริของพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพล อดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร และสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนี พันปีหลวงทั้งนี้ ศูนย์ศึกษาการพัฒนาพิกุลทองฯ ได้ดูแล รักษา “พิพิธภัณฑ์ธรรมชาติที่มีชีวิต” ซึ่งเปรียบเสมือนตัวอย่างแห่งความสำเร็จของการศึกษาและการพัฒนา ที่จะสามารถเสริมสร้างคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นให้แก่ราษฎร พร้อมทั้งได้เผยแพร่ผลสำเร็จจากการดำเนินงานไปถ่ายทอด�สู่พี่น้องประชาชนและนำไปปฏิบัติต่อตนเองและชุมชนให้ได้รับประโยชน์สุขโดยทั่วกันซึ่งการจัดงานครั้งนี้จัดให้มีกิจกรรมหลากหลายรูปแบบ ทั้งการจัดแสดงนิทรรศการ ได้แก่ นิทรรศการ “พิกุลทอง ขยายผลองค์ความรู้ สู่การพัฒนาอย่างยั่งยืน” และ นิทรรศการ “เปิดบ้าน...ตามรอยพ่อ” การเสวนา “ศูนย์ศึกษาการพัฒนาพิกุลทองฯ กับทิศทางการต่อยอดขยายผลการพัฒนา สู่กลุ่มเครือข่าย” นอกจากนี้ ยังจัดให้มีการฝึกอบรมส่งเสริมอาชีพทางเลือกสู่ความยั่งยืน โดยการอบรมเชิงปฏิบัติการพร้อมถ่ายทอดสด จำนวน 8 หลักสูตร อีกทั้งได้มีการให้ความรู้ในกิจกรรม “เกร็ดความรู้รอบตัว” ทางด้านการเกษตร จำนวน 8 เรื่อง และตลาดจำหน่ายผลิตผลทางการเกษตรของเกษตรกรในพื้นที่ขยายผล รวมไปถึงผลิตผลและสินค้าแปรรูปอื่นๆ ของโครงการฟาร์มตัวอย่างในสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนี พันปีหลวง และการดำเนินงานตลาดออนไลน์ “พิกุลทองมาร์เก็ต” รวมทั้งการให้บริการนั่งรถลากพ่วงเยี่ยมชมงานในทุกวันตลอดการจัดงานด้านนายพลากร สุวรรณรัฐ องคมนตรี กล่าวว่า เป็นความปลาบปลื้มยิ่งนัก ที่สำนักงาน กปร. ร่วมกับ ศูนย์ศึกษาการพัฒนาพิกุลทองอันเนื่องมาจากพระราชดำริ และจังหวัดนราธิวาส ได้จัดงาน “ชมศูนย์ศึกษา พัฒนาความรู้ ดูนิทรรศการ” ขึ้น เพราะการจัดงานครั้งนี้ นับเป็นโอกาสที่สำคัญยิ่งที่ทุกภาคส่วนได้มาร่วมแสดงความจงรักภักดีแด่พระบาทสมเด็จพระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว ที่ได้พระราชทานพระปฐมบรมราชโองการ ว่า “เราจะสืบสาน รักษา และ�ต่อยอด และครองแผ่นดินโดยธรรม เพื่อประโยชน์สุขแห่งอาณาราษฎรตลอดไป” ด้วยทรงห่วงใยราษฎร และทรงมีพระราชปณิธานอันแน่วแน่ในการสืบสาน รักษา และต่อยอดการดำเนินงานโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ ในพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร และสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง เพื่อสร้างประโยชน์สุขให้กับราษฎรของพระองค์ ดำรงชีวิตด้วยความยั่งยืน ร่มเย็นและเป็นสุขสืบไป ทั้งนี้การดำเนินงานของศูนย์ศึกษาการพัฒนาพิกุลทองอันเนื่องมาจากพระราชดำริแห่งนี้ คือตัวอย่างแห่งความสำเร็จในการพัฒนาตามแนวพระราชดำริ ที่สามารถให้ประชาชนในพื้นที่ได้�เข้ามาเรียนรู้ และนำไปปรับใช้ในการดำเนินชีวิตของตนเอง รวมทั้ง สามารถนำไปสู่�การพึ่งตนเองได้ยั่งยืนต่อไป เมื่อเวลา 10.00 น. วันที่ 7 สิงหาคม 2566 ที่ ศูนย์ศึกษาการพัฒนาพิกุลทองอันเนื่องมาจากมาจากพระราชดำริ ตำบลกะลุวอเหนือ อำเภอเมือง จังหวัดนราธิวาส นายพลากร สุวรรณรัฐ องคมนตรี เป็นประธานในพิธีเปิดงาน ชมศูนย์ศึกษา พัฒนาความรู้ ดูนิทรรศการ ครั้งที่ 24 ประจำปี 2566 โดยมีนายไพโรจน์ จริตงาม รองผู้ว่าราชการจังหวัดนราธิวาส นายศุภรัชต์ อินทราวุธ ที่ปรึกษาด้านการพัฒนา (สำนักงาน กปร.) นางสายหยุด เพ็ชรสุข ผู้อำนวยการศูนย์ศึกษาการพัฒนาพิกุลทองฯ หัวหน้าส่วนราชการ ข้าราชการ เจ้าหน้าที่ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ประชาชน เข้าร่วมในกิจกรรมเป็นจำนวนมากด้วยสำนักงานคณะกรรมการพิเศษเพื่อประสานงานโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ (สำนักงาน กปร.) ร่วมกับศูนย์ศึกษาการพัฒนาพิกุลทองอันเนื่องมาจากพระราชดำริ หน่วยงานต่างๆ ที่มาร่วมทำงานในศูนย์ศึกษาการพัฒนาพิกุลทองฯ แบบบูรณาการ และจังหวัดนราธิวาส ได้จัดงาน “ชมศูนย์ศึกษา พัฒนาความรู้ ดูนิทรรศการ” เป็นประจำทุกปี และในปี 2566 นี้ นับเป็นปีที่ 24 ของการจัดงาน และเป็นปีที่ศูนย์ศึกษาการพัฒนาพิกุลทองฯ ดำเนินงานมากกว่า 4 ทศวรรษ โดยมีการพัฒนามาอย่างต่อเนื่อง �ทั้งในด้านการดำเนินงานสนองพระราชดำริ ตลอดจนการศึกษา ค้นคว้า วิจัย และการขยายผลการพัฒนาสู่พื้นที่ของเกษตรกร ซึ่งในปีนี้ได้กำหนดจัดขึ้นในระหว่างวันที่ 7 - 11 สิงหาคม 2566 รวม 5 วัน เพื่อเป็นการสำนึกในพระมหากรุณาธิคุณของพระบาทสมเด็จพระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว ที่ทรงมีพระราชปณิธานในการ “สืบสาน รักษา ต่อยอด” โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ และแนวพระราชดำริของพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพล อดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร และสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนี พันปีหลวงทั้งนี้ ศูนย์ศึกษาการพัฒนาพิกุลทองฯ ได้ดูแล รักษา “พิพิธภัณฑ์ธรรมชาติที่มีชีวิต” ซึ่งเปรียบเสมือนตัวอย่างแห่งความสำเร็จของการศึกษาและการพัฒนา ที่จะสามารถเสริมสร้างคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นให้แก่ราษฎร พร้อมทั้งได้เผยแพร่ผลสำเร็จจากการดำเนินงานไปถ่ายทอด�สู่พี่น้องประชาชนและนำไปปฏิบัติต่อตนเองและชุมชนให้ได้รับประโยชน์สุขโดยทั่วกันซึ่งการจัดงานครั้งนี้จัดให้มีกิจกรรมหลากหลายรูปแบบ ทั้งการจัดแสดงนิทรรศการ ได้แก่ นิทรรศการ “พิกุลทอง ขยายผลองค์ความรู้ สู่การพัฒนาอย่างยั่งยืน” และ นิทรรศการ “เปิดบ้าน...ตามรอยพ่อ” การเสวนา “ศูนย์ศึกษาการพัฒนาพิกุลทองฯ กับทิศทางการต่อยอดขยายผลการพัฒนา สู่กลุ่มเครือข่าย” นอกจากนี้ ยังจัดให้มีการฝึกอบรมส่งเสริมอาชีพทางเลือกสู่ความยั่งยืน โดยการอบรมเชิงปฏิบัติการพร้อมถ่ายทอดสด จำนวน 8 หลักสูตร อีกทั้งได้มีการให้ความรู้ในกิจกรรม “เกร็ดความรู้รอบตัว” ทางด้านการเกษตร จำนวน 8 เรื่อง และตลาดจำหน่ายผลิตผลทางการเกษตรของเกษตรกรในพื้นที่ขยายผล รวมไปถึงผลิตผลและสินค้าแปรรูปอื่นๆ ของโครงการฟาร์มตัวอย่างในสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนี พันปีหลวง และการดำเนินงานตลาดออนไลน์ “พิกุลทองมาร์เก็ต” รวมทั้งการให้บริการนั่งรถลากพ่วงเยี่ยมชมงานในทุกวันตลอดการจัดงานด้านนายพลากร สุวรรณรัฐ องคมนตรี กล่าวว่า เป็นความปลาบปลื้มยิ่งนัก ที่สำนักงาน กปร. ร่วมกับ ศูนย์ศึกษาการพัฒนาพิกุลทองอันเนื่องมาจากพระราชดำริ และจังหวัดนราธิวาส ได้จัดงาน “ชมศูนย์ศึกษา พัฒนาความรู้ ดูนิทรรศการ” ขึ้น เพราะการจัดงานครั้งนี้ นับเป็นโอกาสที่สำคัญยิ่งที่ทุกภาคส่วนได้มาร่วมแสดงความจงรักภักดีแด่พระบาทสมเด็จพระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว ที่ได้พระราชทานพระปฐมบรมราชโองการ ว่า “เราจะสืบสาน รักษา และ�ต่อยอด และครองแผ่นดินโดยธรรม เพื่อประโยชน์สุขแห่งอาณาราษฎรตลอดไป” ด้วยทรงห่วงใยราษฎร และทรงมีพระราชปณิธานอันแน่วแน่ในการสืบสาน รักษา และต่อยอดการดำเนินงานโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ ในพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร และสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง เพื่อสร้างประโยชน์สุขให้กับราษฎรของพระองค์ ดำรงชีวิตด้วยความยั่งยืน ร่มเย็นและเป็นสุขสืบไป ทั้งนี้การดำเนินงานของศูนย์ศึกษาการพัฒนาพิกุลทองอันเนื่องมาจากพระราชดำริแห่งนี้ คือตัวอย่างแห่งความสำเร็จในการพัฒนาตามแนวพระราชดำริ ที่สามารถให้ประชาชนในพื้นที่ได้�เข้ามาเรียนรู้ และนำไปปรับใช้ในการดำเนินชีวิตของตนเอง รวมทั้ง สามารถนำไปสู่�การพึ่งตนเองได้ยั่งยืนต่อไป กล่าวรายงาน นายชยันต์ ศิริมาศ ผู้ว่าราชการจังหวัดนครสวรรค์ ให้การต้อนรับภายในงานมีการจัดนิทรรศการด้านการอนุรักษ์เสือโคร่ง ของกรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช และหน่วยงานภาคีเครือข่าย เพื่อแสดงให้เห็นถึงความสำเร็จของการอนุรักษ์เสือโคร่งในประเทศไทยที่ผ่านมา ตามนโยบายและแผนปฏิบัติการแห่งชาติเพื่ออนุรักษ์เสือโคร่ง ฉบับที่ 1 (พ.ศ. 2553-2565 ) ด้วยการศึกษาวิจัย การฟื้นฟู การจัดการถิ่นอาศัยของเสือโคร่งและประชากรเหยื่อของเสือโคร่ง ตลอดจนเป้าหมายการดำเนินงานตามแผนปฏิบัติการแห่งชาติเพื่ออนุรักษ์เสือโคร่ง ฉบับที่ 2 พ.ศ. 2565-2577 โดยมีเป้าหมายในการเพิ่มประชากรเสือโคร่งในธรรมชาติเพิ่มขึ้น ภายใต้ความสามารถในการรองรับได้ของพื้นที่กลุ่มป่าที่เป็นถิ่นอาศัย ด้วยการยกระดับการจัดการพื้นที่และการติดตามตรวจวัดที่มีประสิทธิภาพ ฟื้นฟูประชากรเสือโคร่งและเหยื่อในพื้นที่เป้าหมาย ได้แก่ กลุ่มป่าตะวันตก, กลุ่มป่าดงพญาเย็น-เขาใหญ่, กลุ่มป่าแก่งกระจาน, กลุ่มป่าภูเขียว-น้ำหนาว และกลุ่มป่าคลองแสง-เขาสก พร้อมกับการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนเพื่อนำประเทศไทยสู่การเป็นผู้นำในการอนุรักษ์เสือโคร่งในระดับภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ภายในปี พ.ศ. 2577ทั้งนี้มีการเสวนาและแสดงวิสัยทัศน์ในหัวข้อ “Move Forward to Sustainable Tigers Conservation : ก้าวสู่การอนุรักษ์เสือโคร่งอย่างยั่งยืน”โดยมีนายจตุพร บุรุษพัฒน์ ปลัดกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม พร้อมด้วยนายชยันต์ ศิริมาศ ผู้ว่าราชการจังหวัดนครสวรรค์ นายทรงเกียรติ ตาตะยานนท์ รองอธิบดีกรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช ผู้แทนหน่วยงานภาคีเครือข่ายด้านการอนุรักษ์สัตว์ป่า ผู้แทนภาควิชาการจากสถานศึกษา และตัวแทนจากภาคประชาชน ดำเนินรายการโดยนายสถาพร ด่านขุนทดในวันเสือโคร่งโลกปีนี้ นายทรงเกียรติ ตาตะยานนท์ รองอธิบดีกรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช กล่าวว่า เนื่องจากวันที่ 29 กรกฎาคม ของทุกปีเป็นวันเสือโคร่งโลก กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช จึงได้จัดงานวันเสือโคร่งโลก ประจำปี 2566 ขึ้นภายใต้แนวคิดหลัก “Move Forward to Sustainable Tigers Conservation : ก้าวสู่การอนุรักษ์เสือโคร่งอย่างยั่งยืน” โดยจากการประเมินประชากรเสือโคร่งในธรรมชาติ ในปี 2565 พบเสือโคร่ง จำนวน 148-189 ตัว เพิ่มขึ้นจากสถิติ ปี 2563 ที่สำรวจพบ 130-160 ตัว โดยอาศัยเทคนิคการประเมินเฉพาะทางและการจำแนกลายที่ได้จากกล้องดักถ่ายภาพอัตโนมัติ ซึ่งติดตั้งไว้มากกว่า 1,200 จุด ในพื้นที่อนุรักษ์ 28 แห่ง จากการศึกษาวิจัยนี้ เรายังพบอีกว่า พื้นที่เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าทุ่งใหญ่นเรศวร-ห้วยขาแข้ง เป็นพื้นที่ที่มีประชากรหนาแน่นที่สุด คือ 103-131 ตัว ในส่วนของพื้นที่จังหวัดนครสวรรค์แห่งนี้ ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของผืนป่าตะวันตกตอนเหนือ ได้แก่ อุทยานแห่งชาติแม่วงก์ ขึ้นไปจนอุทยานแห่งชาติคลองลาน อุทยานแห่งชาติคลองวังเจ้า เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าอุ้มผาง ในพื้นที่จังหวัดกำแพงเพชร และจังหวัดตาก สามารถบันทึกภาพเสือโคร่งได้ จำนวน 16 - 21 ตัว ไม่เพียงแต่ภาพของเสือโคร่งเท่านั้น หากแต่ยังบันทึกภาพเหยื่อของเสือโคร่ง เช่น กวางป่า หมูป่า เก้ง วัวแดง เป็นต้น สิ่งนี้เป็นดัชนีวัดความสมบูรณ์ของผืนป่าและความเหมาะสมของการเป็นถิ่นอาศัยของเสือโคร่งได้เป็นอย่างดี ทั้งนี้รัฐบาลไทยได้ให้ความเห็นชอบในแผนปฏิบัติการแห่งชาติเพื่ออนุรักษ์เสือโคร่ง พ.ศ. 2565 - 2577 โดยตั้งเป้าหมายในการยกระดับมาตรฐานการคุ้มครองถิ่นอาศัยสำคัญของเสือโคร่ง ได้แก่ ผืนป่าตะวันตก และผืนป่าดงพญาเย็น-เขาใหญ่ ตลอดจนเร่งฟื้นฟูประชากรเสือโคร่งและเหยื่อในถิ่นอาศัยเป้าหมาย ได้แก่ ผืนป่าแก่งกระจาน ผืนป่าภูเขียว-น้ำหนาว และผืนป่าคลองแสง-เขาสก ทั้งหมดทั้งมวลนี้เพื่อนำประเทศไทยไปสู่การเป็นผู้นำในการอนุรักษ์เสือโคร่งในระดับภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ให้ได้ ภายในปี พ.ศ. 2577 เป้าหมายและความสำเร็จในการอนุรักษ์เสือโคร่งอย่างยั่งยืน ไม่ใช่เพียงผลงานของภาครัฐเท่านั้น แต่ยังคงมีหน่วยงานจากทุกภาคส่วนไม่ว่าจะเป็นภาคเอกชน องค์กรอิสระต่าง ๆ และที่ขาดไม่ได้คือประชาชนทุกคน ที่คอยสนับสนุนและมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์เสือโคร่งร่วมกัน.🐵🐵ต้อย รอบรั้วภูธร 0619782952-0838823240 🐵🐵
สมัครสมาชิก:
ส่งความคิดเห็น (Atom)
OVERCOAT MUSIC FESTIVAL 2024 เสาร์ที่ 7 ธันวาคม 2567 ณ Jollyland Starlight Amphitheater อำเภอเขาค้อ จังหวัดเพชรบูรณ์
พบกับงานเทศกาลดนตรีกลางขุนเขาที่ทุกคนรอคอย! Chang Music Connection presents OVERCOAT MUSIC FESTIVAL 2024 ครั้งที่ 14 ที่จะจัดขึ้...
-
วันที่ 22 พฤศจิกายน 2567 ณ อาคารเอนกประสงค์สัมมนาและจัดการแสดงนิทรรศการบึงบอระเพ็ด อำเภอเมือง จังหวัดนครสวรรค์ นางสาวชุติพร...
-
สมศักดิ์" ลงพื้นที่ นครสวรรค์ น่า อสม. ขับเคลื่อนกลไกด้านสุขภาพ ลดปัจจัยเสี่ยงโรค NCDsตั้งเป๊าคนไทยต้องมีอายุคาดเฉลี่ย 85 ป...
-
วันที่ 21 พฤศจิกายน 2567 นางสาวชุติพร เสชัง รองผู้ว่าราชการจังหวัดนครสวรรค์ เป็นประธานในโครงการจังหวัดเคลื่อนที่"หน่วยบำบั...
-
พฤศจิกายน 2567ประชาชนคณะศรัทธาวัดป่าไม้แดง ได้ร่วมทำพิธีบวงสรวงเสาหลักเมืองไชยปราการ ซึ่งได้ตั้งไว้ในสถานที่วัดป่าไม้แดง(วัดพระเ...
-
ณ ลานธรรม ลานศิลป์ ถิ่นพญามังราย (ศาลากลางจังหวัดเชียงรายหลังเก่า) ต.เวียง อ.เมืองเชียงราย จ.เชียงราย นางอทิตาธร วันไชยธนวงศ์ นา...
-
วันที่ 23 พฤศจิกายน 2567 ผู้สื่อข่าวได้เดินทางล่องเรือสำรวจเส้นทางท่องเที่ยวฤดูหนาวภายในเขตบึงบอระเพ็ด จ.นครสวรรค์ และได้เดินทาง...
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น