ต้อยทูเดย์ออนไลน์ Toytodayonline

วันจันทร์ที่ 12 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2567

อุทัยธานี-พื้นคืนชีพพญาแร้งให้กับสู่ผืนป่าห้วยขาแข้งอีกครั้งหลังจากพบว่าสูญพันธ์ไปกว่า 30 ปี จากการโดนยาเบื่อที่พรานล่าสัตว์ป่าใส่ไว้ในซากเก้งเพื่อล่าเสือโคร่ง

เวลา 09.30 น.วันที่ 12 กุมภาพันธ์ 2567  นายเพิ่มศักดิ์ กนิษฐชาต หัวหน้าเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าห้วยขาแข้งเปิดเผยว่าเขตรักษาพันธ์สัตว์ป่าห้วยขาแข้งนั้นมีพื้นที่ประมาณ 170,0000กว่าไร่มีและมีสัตว์ป่าอยู่เยอะในพื้นที่และในปี พ.ศ.2535 เป็นพื้นที่อยู่อาศัยของพญาแร้งซึ่งเป็นนกขนาดใหญ่มีนิสัยกินซากสัตว์เป็นอาหารมีหน้าที่เหมือนเทศบาลประจำป่าห้วยขาแข้งก้อนหน้านี้มีการล่าเสือโคร่งกันเยอะในพื้นที่อุ้มพางติดกับพื้นที่ห้วยขาแข้งนั้นจะมีกลุ่มคนที่แอบลักลอบเข้ามาล่าสัตว์ลงมาถึงลำห้วยขาแข้งและเหล่าบรรดาพรานป่าตั้งใจที่จะมาล่าเสือโคร่งโดยตรง โดยปรกติของการล่าก็คือการก่อหรือผูกนั่งร้านบนต้นไม้เพื่อจะยิงแต่เวลายิงแล้วนั้นหนังของเสือโครงจะชำรุดและขายไม่ได้ราคาจึงเปลี่ยนใช้วิธีเอายาเบื่อไปใส่ซากสัตว์ซึ่งพญาแล้งหรือนกแร้งมีนิสัยกินซากสัตว์อยู่แล้วก่อนที่เสือจะมากินฝูงพญาแล้งเหล่านี้ก็บินมากินทำให้ล้มตายไปในที่สุดหลังจากนั้นมาก็ไม่มีใครพบฝูงพญาแร้งอีกเลยในห้วยขาแข้งอีกเลยจากนั้นมาก็เริ่มที่จะนำพญาแล้งกลับมาสู่ผืนป่าห้วยขาแข้งอีกครั้งและเริ่มทำโครงการการฟื้นฟูประชากรพญาแร้งในถิ่นอาศัยของประเทศไทย เพื่อเป็นต้นแบบในการฟื้นฟูประชากรแร้งในพื้นที่ธรรมชาติ เกิดขึ้นมาและมีการตั้งคณะทำงานซึ่งทางกรมอุทยานสัตว์ป่าและพันธ์พืชได้ร่วมมือกับองค์การสวนสัตว์แห่งประเทศไทยรวมถึงมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์และมูลนิธืสืบนาคะเสถียรทำการฟื้นฟูประชากรพญาแล้งขึ้นในตอนนี้กำลังนำพญาแล้งมาผสมพันธ์กันและกำลังรอก้าวต่อไปสู่ความสำเร็จในตอนนี้ได้สร้างกรงเลี้ยงในธรรมชาติและได้นำพ่อพันธ์และแม่พันธ์มาอยู่ด้วยกันและในตอนนี้ข่าวดีก็คือพญาแล้งคู่ผัวเมียได้ทำการผสมพันธ์กันเป็นที่เรียบร้อยแล้วซึ่งพญาแร้งทั้งคู่ได้ใช้เวลาดูใจกันมา 1 ปีกว่าเลยทีเดียวและได้ไข่ของพญาแล้งนั้นนำไปทำการฟักอยู่และพญาแล้งนั้นจะออก ซึ่งพญาแร้งนั้นจะทำการออกไข่ปีละประมาณ 2 ครั้งและครั้งละ 1 ฟอง และพญาแล้งนั้นต้องมีอายุอย่างน้อย 10 ปีถึงจะมีการจับคู่ผสมพันธ์กันซึ่งนายเพิ่มศักดิ์นั้นบอกว่าก็เพิ่งเคยเห็นในชั่วชีวิตของผมซึ่งยอมรับว่าขาดข้อมูลในเรื่องพญาแล้งมานานมากในตอนนี้มีไข่ของพญาแล้งแล้วก็จะเริ่มเป็นตัวอ่อนของพญาแล้งก็ถือว่าสำเร็จไปทีละขั้นตอนไปสว่นขั้นตอนต่อไปก็คือลูกของพญาแล้งนั้นจะเติบโตขึ้นแลถึงขั้นตอนปล่อยกลับสู่ธรรมาชาติต่อไปเพื่อให้ฝูงพญาแล้งนั้นเพิ่มจำนวนมากขึ้น  ขณะเดียวกัน นายวชิราดล แผลงปัญญา นักวิชาการสวนสัตว์นครราชสีมาองค์การ ผู้ที่มาทำโครงการ่วมกับเขตรักษาพันธ์สัตว์ป่าห้วยขาแข้งเปิดเผยว่าหลังจากที่พญาแล้งนั้นเริ่มวางไข่แล้วทางทีมงานต้องมาดูในอีกหลายส่วนอันดับแรกก็ในเรื่องของความปลอดภัยว่ามีสิ่งรบกวนหรือเปล่าจึงมีการจัดการนำตาข่ายมาปิดรอบไว้เพื่อป้องกันสัตว์เลื้อยคลานเข้ามาทำอันตรายพญาแล้งส่วนในเรื่องของอาหารนั้นก็มีการเสริมวิตามินแคลเซี่ยมแร่ธาติต่างๆที่เหมาะสมกับช่วงฤดูผสมพันธ์วางไข่และต้องเฝ้าสังเกตุพฤติกรรมของพญาแล้งในตอนนี้ลูดของพญาแล้งนั้นมีอายุได้เพียงแค่ 2 วันแผนต่อไปดูต้องดูแลเรื่องอาหารของลูกพญาแล้งและเก็บข้อมูลตั้งแต่วันที่เริ่มเจาะไข่ออกมาว่าใช้เวลากี่ชั่วโมงแล้วหลังจากเจาไข่ออกมานั้นลูกพญาแล้วทำอะไรบ้างพ่อและแม่ป้อนอาหารให้ลูกตอนไหนวิธีการป้อนอาหารนั้นทำอย่างไรซึ่งเป็นข้อมูลที่ต้องเก็บทั้งหมดไว้ศึกษากันต่อไปและยังคงต้องทำงานกันต่อเพื่อเพิ่มประชากรแร้งในเขตป่าห้วยขาแข้ง    อนาคตต่อไปทางคณะทำงานหวังว่าพญาแล้งนั้นจะเพิ่มประชากรที่เขตรักษาพันธ์สัตว์ป่าห้วยขาแข้งให้มากขึ้นเหมือนเดิมก่อนซึ่งเป็นระบบธรรมชาติที่สำคัญของผืนป่ารวมถึงในป่าทั่วประเทศอีกด้วยที่หวังกันไว้สามารถสนับสนุนการดำเนินงานฟื้นฟูพญาแร้งสามารถบริจาคผ่านบัญชี "โครงการพญาแร้งคืนถิ่น" ธนาคารกรุงไทย สาขาเทสโก้โลตัส รัตนาธิเบศร์ บัญชีเลขที่ 679-6-72119-5 ใบเสร็จจากการบริจาค ลดหย่อนภาษีได้เต็มจำนวน☎️☎️ต้อย​ รอบ​รั้ว​ภูธร-​0619782952​-0838823240​☎️☎️

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น

"แพทย์ทหารห่วงใย “โรคผิวหนังอักเสบ” ภัยที่ควรระวังเมื่อเข้าฤดูหนาว"

   “โรคผิวหนังอักเสบ” เป็นภาวะที่ผิวหนังมีอาการแพ้ เกิดผื่น มีสะเก็ด และมีอาการคัน สามารถเกิดขึ้นได้จาก 2 สาเหตุ คือ 1) สาเหตุภา...